พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และ การอ่านตัวสะกด (พินอิน (拼音)) ในภาษาจีน
ในการเริ่มต้นศึกษา ควรอ่านท่องเสียงให้ได้แม่นยำในระบบใดระบบหนึ่งก่อนก็ได้ เช่น
แบบจู้อิน (Zhuyin) เป็นแบบดั้งเดิมของจีนที่ใช้กันมาช้านาน เป็นที่นิยมใช้ในหมู่คนจีนที่ ผ่านการศึกษาในรุ่นก่อนๆ ในประเทศจีนไต้หวันเป็นต้น
แบบพินอิน (Pinyin) เป็นใหม่ที่ใช้ในระบบการศึกษาของสาธารณะประชาชนจีน และจะพบเห็นได้ในเอกสารที่ตีพิมพ์ในยุคหลังๆ และนิยมใช้ในปัจจุบัน
องค์ประกอบของพินอิน
Consonants พยัญชนะในภาษาจีนมี 21 ตัวคือ
ㄅ ㄆ ㄇ ㄈ ㄉ ㄊ ㄋ ㄌ ㄍ ㄎ ㄏ ㄐ ㄑ ㄒ ㄓ ㄔ ㄕ ㄖ ㄗ ㄘ ㄙ
b เทียบได้เป็นตัวอักษร " ป"
p เทียบได้เป็นตัวอักษร "พ"
m เทียบได้เป็นตัวอักษร "ม"
f เทียบได้เป็นตัวอักษร "ฟ"
d เทียบได้เป็นตัวอักษร "ต"
t เทียบได้เป็นตัวอักษร "ธ หรือ ท"
n เทียบได้เป็นตัวอักษร "น"
l เทียบได้เป็นตัวอักษร "ล"
g เทียบได้เป็นตัวอักษร "ก"
k เทียบได้เป็นตัวอักษร "ค"
h เทียบได้เป็นตัวอักษร "ฮ"
j เทียบได้เป็นตัวอักษร "จ"
q เทียบได้เป็นตัวอักษร "ช"
x เทียบได้เป็นตัวอักษร "ซ"
zh เทียบเป็นเสียงในภาษาไทยได้ว่าเป็นเสียง "จรือ"
ch เทียบเสียงเป็นภาษาไทยได้ว่า "ชรือ"
sh เทียบเสียงเป็นภาษาไทยได้ว่า "ซรือ"
r เทียบเสียงเป็นภาษาไทยได้ว่า "ยือร์"
z เทียบเป็นเสียงในภาษาไทยได้ว่าเป็นเสียง"จือ"
c เทียบเสียงเป็นภาษาไทยได้ว่า "ชือ"
s เทียบเสียงเป็นภาษาไทยได้ว่า "ซือ"
Vowels สระมี 16 ตัวคือ
ㄚ ㄛ ㄜ ㄝ ㄞ ㄟ ㄠ ㄡ ㄢ ㄣ ㄤ ㄥ ㄦ 一 ㄨ ㄩ
a o e i u ü
อา โอ เออ อี อู อวี
ao ( อาว ) ou ( โอว )
ia (เอีย / อี + อา) ie (เอีย / อี + เอะ)
ua ( อวา ) uo ( อัว )
ue ( เอว์ )
uai ( ไอว /อู+อา+ไอ ) ui ( uei ) ( อุย /อู+เอ+อี )
an ( อัน ) ang ( อาง )
ong ( อง ) en ( เอิน )
eng ( เอิง ) ian ( เอียน )
in ( อิน ) iang ( เอียง )
ing ( อิง ) iong ( อี + อง )
uan ( อวน ) un ( อุน )
uang( อวาง/อู + อาง ) ueng ( เอวิง/อู + เอิง )
uan ( อวาน ) un ( อวุน )
Tones วรรณยุกต์ มีดังนี้
╴ ˊ ˇ ˋ ˙
การถอดเสียงวรรณยุกต์
ระบบพินอินมีเครื่องหมายแทนเสียงวรรณยุกต์ 4 เครื่องหมายด้วยกัน ดังนี้
ในการใช้เครื่องพิมพ์ดีดหรือคอมพิวเตอร์ อาจใช้ตัวเลขแทนเครื่องหมายวรรณยุกต์ได้ (1 2 3 4 5 ตามลำดับ)
ในการเริ่มต้นศึกษา ควรอ่านท่องเสียงให้ได้แม่นยำในระบบใดระบบหนึ่งก่อนก็ได้ เช่น
แบบจู้อิน (Zhuyin) เป็นแบบดั้งเดิมของจีนที่ใช้กันมาช้านาน เป็นที่นิยมใช้ในหมู่คนจีนที่ ผ่านการศึกษาในรุ่นก่อนๆ ในประเทศจีนไต้หวันเป็นต้น
แบบพินอิน (Pinyin) เป็นใหม่ที่ใช้ในระบบการศึกษาของสาธารณะประชาชนจีน และจะพบเห็นได้ในเอกสารที่ตีพิมพ์ในยุคหลังๆ และนิยมใช้ในปัจจุบัน
องค์ประกอบของพินอิน
- 声母: พยัญชนะ มี 21 ตัว 23 เสียง
- 韵母: สระ แบ่งออกเป็นสระเดี่ยว และ สระผสม ทั้งหมด 36 เสียง 1) สระเดี่ยวมี 6 เสียง และ 2)สระผสมมี 30 เสียง
- 声调: เสียงวรรณยุกต์ มี 4 เสียง และเสียงเบา(จะเรียนในบทต่อไป)
Consonants พยัญชนะในภาษาจีนมี 21 ตัวคือ
ㄅ ㄆ ㄇ ㄈ ㄉ ㄊ ㄋ ㄌ ㄍ ㄎ ㄏ ㄐ ㄑ ㄒ ㄓ ㄔ ㄕ ㄖ ㄗ ㄘ ㄙ
b เทียบได้เป็นตัวอักษร " ป"
p เทียบได้เป็นตัวอักษร "พ"
m เทียบได้เป็นตัวอักษร "ม"
f เทียบได้เป็นตัวอักษร "ฟ"
d เทียบได้เป็นตัวอักษร "ต"
t เทียบได้เป็นตัวอักษร "ธ หรือ ท"
n เทียบได้เป็นตัวอักษร "น"
l เทียบได้เป็นตัวอักษร "ล"
g เทียบได้เป็นตัวอักษร "ก"
k เทียบได้เป็นตัวอักษร "ค"
h เทียบได้เป็นตัวอักษร "ฮ"
j เทียบได้เป็นตัวอักษร "จ"
q เทียบได้เป็นตัวอักษร "ช"
x เทียบได้เป็นตัวอักษร "ซ"
zh เทียบเป็นเสียงในภาษาไทยได้ว่าเป็นเสียง "จรือ"
ch เทียบเสียงเป็นภาษาไทยได้ว่า "ชรือ"
sh เทียบเสียงเป็นภาษาไทยได้ว่า "ซรือ"
r เทียบเสียงเป็นภาษาไทยได้ว่า "ยือร์"
z เทียบเป็นเสียงในภาษาไทยได้ว่าเป็นเสียง"จือ"
c เทียบเสียงเป็นภาษาไทยได้ว่า "ชือ"
s เทียบเสียงเป็นภาษาไทยได้ว่า "ซือ"
Vowels สระมี 16 ตัวคือ
ㄚ ㄛ ㄜ ㄝ ㄞ ㄟ ㄠ ㄡ ㄢ ㄣ ㄤ ㄥ ㄦ 一 ㄨ ㄩ
- สระ韵母 - สระเดี่ยว ในภาษาจีนมี 6 เสียง สัทอักษรที่แทนเสียง สระเดี่ยวมีดังนี้
a o e i u ü
อา โอ เออ อี อู อวี
- สระผสม สระผสมสองเสียงในภาษาจีนมี 9 เสียง
ao ( อาว ) ou ( โอว )
ia (เอีย / อี + อา) ie (เอีย / อี + เอะ)
ua ( อวา ) uo ( อัว )
ue ( เอว์ )
- สระผสมสามเสียงในภาษาจีนมี 4 เสียง
uai ( ไอว /อู+อา+ไอ ) ui ( uei ) ( อุย /อู+เอ+อี )
- สระผสมนาสิก - สระผสมนาสิกในภาษาจีนมี 16 เสียง ดังนี้
an ( อัน ) ang ( อาง )
ong ( อง ) en ( เอิน )
eng ( เอิง ) ian ( เอียน )
in ( อิน ) iang ( เอียง )
ing ( อิง ) iong ( อี + อง )
uan ( อวน ) un ( อุน )
uang( อวาง/อู + อาง ) ueng ( เอวิง/อู + เอิง )
uan ( อวาน ) un ( อวุน )
Tones วรรณยุกต์ มีดังนี้
╴ ˊ ˇ ˋ ˙
- เสียงที่ 1 ˉ เทียบเสียงกับวรรณยุกต์ใน ภาษาไทย สามัญ
- เสียงที่ 2 / เทียบเสียงกับวรรณยุกต์ใน ภาษาไทย จัตวา
- เสียงที่ 3 ˇ เทียบเสียงกับวรรณยุกต์ใน ภาษาไทย เอก
- เสียงที่ 4 \ เทียบเสียงกับวรรณยุกต์ใน ภาษาไทย โท
การถอดเสียงวรรณยุกต์
ระบบพินอินมีเครื่องหมายแทนเสียงวรรณยุกต์ 4 เครื่องหมายด้วยกัน ดังนี้
- วรรณยุกต์เสียงที่หนึ่ง แทนด้วยขีดระนาบสั้น ๆ (ˉ) เทียบเท่าเสียง สามัญหรือตรี ในภาษาไทย: ā ē ī ō ū ǖ
- วรรณยุกต์เสียงที่สอง แทนด้วยขีดสั้น ๆ เอียงขวา (ˊ) เทียบเท่าเสียง จัตวา ในภาษาไทย: á é í ó ú ǘ
- วรรณยุกต์เสียงที่สาม แทนด้วยขีดรูปลิ่ม (ˇ) คล้ายเสียง เอก ในภาษาไทย (แต่ไม่ใช่เสียง“เอก“): ǎ ě ǐ ǒ ǔ ǚ
- วรรณยุกต์เสียงที่สี่ แทนด้วยขีดสั้น ๆ เอียงซ้าย (ˋ) เทียบเท่าเสียง โท ในภาษาไทย: à è ì ò ù ǜ
- วรรณยุกต์เสียงที่ห้า ไม่มีเครื่องหมาย: a e i o u ü (แต่บางครั้งเขียนจุดหน้าพยางค์นั้น ๆ เช่น ·yo เยาะ)
ในการใช้เครื่องพิมพ์ดีดหรือคอมพิวเตอร์ อาจใช้ตัวเลขแทนเครื่องหมายวรรณยุกต์ได้ (1 2 3 4 5 ตามลำดับ)
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น